หน่วยงาน | หลักสูตร/โปรแกรมเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ | ลักษณะการพัฒนาผู้ประกอบการ |
1.คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | 1. หลักสูตรการพัฒนานวัตกรรม ผงเคลออร์แกนิก | ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการไวด้รับ : พัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่การแปรรูปเป็นสินค้าที่สามารถจัดจำหน่ายได้ง่าย มีการบรรจุใส่แพคเกจที่ออกแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ และสามารถวางจำหน่ายได้หลายช่องทาง ผู้ประกอบการสามารถนำผักสดมาแปรรูปได้หลากหลาย |
2. หลักสูตรนวัตกรรม โมเดลตลาดสีเขียว | ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการไวด้รับ : โมเดลการบริหารจัดการตลาด สามารถนำโมเดลไปปฏิบัติ เปิดตลาดทุก 3 เดือน เป็นแหล่งท่องเที่ยวชุมชนแห่งใหม่ของพื้นที่ และเป็นแหล่งจัดจำหน่ายสินค้าของชุมชน | |
3. หลักสูตรการพัฒนาลายผ้า ลายดอกลานและลายดอกมะหาด | ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการไวด้รับ : ผลิตลายผ้าสะท้อนอัตลักษณ์ชุมชน ลายดอกมะหาด และลายดอกลาน เป็นลายผ้าใหม่บนผลิตภัณฑ์ ทำให้ชุมชนมีสิน้าใหม่นำเสนอขายเพิ่ม | |
5. หลักสูตรภาษาจีนเพื่อการซื้อขายสินค้าออนไลน์ | ผู้ประกอบการส่วนบุคคล หรือวิสาหกิจชุนชนได้พัฒนาองค์ความรู้ด้านภาษาจีนเพื่อการซื้อขายสินค้าออนไลน์ เป็นหลักสูตรที่ผู้ประกอบการทั้งส่วนบุคคลและวิสาหกิจนำไปใช้ได้ | |
6. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ | พัฒนาผู้ประกอบการด้านพาณิชย์ค้าขายระหว่างประเทศ | |
1. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 1.หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ | พัฒนาผู้ประกอบการด้านคหกรรมศาสตร์ |
2. คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร | 1.วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร | พัฒนาผู้ประกอบการด้านอาหาร |
2.วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอาง | พัฒนาผู้ประกอบการด้านเครื่องสำอาง | |
3.วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสัตวศาสตร์และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ | พัฒนาผู้ประกอบการด้านสัตว์ | |
4.วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ | พัฒนาผู้ประกอบการด้านการเกษตร | |
5. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและอาหาร | พัฒนาผู้ประกอบการด้านผลิตผลทางการเกษตร | |
6. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบเกษตร | พัฒนาผู้ประกอบการด้านการพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตร | |
7. หลักสูตรการประยุกต์ใช้ค่าดัชนีน้ำตาลเพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างตลาดใหม่ให้กับผลิตภัณฑ์ | สถานประกอบการรูปแบบบริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด/วิสาหกิจชุมชนที่เกี่ยวข้องด้านอาหาร/แปรรูปผักและผลไม้/ผลิตภัณฑ์จากแป้ง สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : พัฒนาองค์ความรู้ ฝึกปฏิบัติวิเคราะห์การวัดดัชนีน้ำตาลต่ำ ได้สูตรในการพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำตาลต่ำ และได้สิทธิในการวิเคราะห์ค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ 1 ผลิตภัณฑ์ | |
8. หลักสูตรการสกัดสมุนไพรและการนำมาประยุกต์ใช้เป็นสารสำคัญในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง | สถานประกอบการรูปแบบบริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด/วิสาหกิจชุมชนด้านเครื่องสำอาง สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : 1.ผู้ประกอบการเตรียมสารสกัดได้เอง ทราบการควบคุมคุณภาพ ลดการค่าใช้จ่ายในการซื้อสารสกัด 2.ผู้ประกอบการสามารถพัฒนาสูตรตำรับเครื่องสำอางได้ หลากหลายมากขึ้น เป็นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันในอนาคต | |
9. หลักสูตรการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสมุนไพรและการนำมาประยุกต์ใช้เป็นสารสำคัญในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง | สถานประกอบการรูปแบบบริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด/วิสาหกิจชุมชนด้านเครื่องสำอาง สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : 1.ผู้ประกอบการสามารถทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับเครื่องสำอางได้ 2.ผู้ประกอบการจะได้ข้อมูลฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดสมุนที่เลือกมา เพื่อเป็นข้อมูลส่งเสริมการตลาดให้ผลิตภัณฑ์ | |
10. หลักสูตรกระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อนในการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุปิดสนิทชนิดที่มีคามเป็นกรดต่ำและปรับกรด | สถานประกอบการรูปแบบบริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด/วิสาหกิจชุมชนด้านอาหาร/สมุนไพร/เครื่องสำอาง สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : 1.ผู้ประกอบการเข้าใจหลักการด้วยความร้อนในการผลิตอาหารในภาชนะบรรจุปิดสนิท สามารถนำไปต่อยอดในการผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่ได้ 2.ผู้ประกอบการสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารในภาชนะบรรจุปิดสนิท เป็นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันในอนาคต | |
3. คณะวิทยาการจัดการ | 1.หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ | พัฒนาหลักการเป็นผู้ประกอบการ |
2.หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ | พัฒนาผู้ประกอบการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ | |
3. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด | พัฒนาผู้ประกอบการด้านการตลาด | |
4. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจการค้าสมัยใหม่ | พัฒนาผู้ประกอบการเกี่ยวกับการค้าในยุคปัจจุบัน | |
5. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ | พัฒนาหลักการเป็นผู้ประกอบการ | |
6. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ | พัฒนาหลักการเป็นผู้ประกอบการ | |
7. หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | พัฒนาผู้ประกอบการด้านการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ | |
4. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม | 1. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ | หลักสูตรวางแผนการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ให้มีทัศนคติ และทักษะผู้ประกอบการด้านการขนส่งโลจิสติกส์ |
2. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | หลักสูตรวางแผนการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ให้มีทัศนคติ และทักษะผู้ประกอบการด้านการเทคโนโลยีดิจิทัลกับการจัดการธุรกิจ และอุตสาหกรรม | |
3. หลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างเตาเผาถ่านเอนกประสงค์ | กลุ่มผู้ประกอบการ/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : นวัตกรรมเตาเผาถ่านเอนกประสงค์ สามารถลดมลพิษ (ควัน) จากการเผาถ่านแบบเดิม รวมถึงทำให้ได้คุณภาพถ่านที่ดีขึ้น มีความคงรูป ไม่เปราะ หรือแตกหักง่าย รวมถึงสามารถเผาถ่านจากผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายได้ เช่น ไม้ ซากข้าวโพด กะลามะพร้าว เป็นต้น และสามารถต่อยอดเป็นถ่านอักแท่งเพื่อการจัดจำหน่ายต่อไปได้ | |
4. หลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างวัสดุคลุมดินจากดินเผา | ชื่กลุ่มผู้ประกอบการ/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : เป็นการสร้างงานสร้างอาชีพให้กับผู้สูงอายุในชุมชน ซึ่งนวัตกรรมการทำบอลดินเผาคลุมดินสามารถจัดทำได้ง่ายไม่ซับซ้อน เหมาะกับการจัดจำหน่ายให้กับกลุ่มผู้บริโภคที่ชื่นชอบเลี้ยงต้นไม้ในกระถาง เนื่องจากรูปลักษณ์ของบอลดินเผาคลุมดินมีรูปร่างกลมๆ หลายสี สร้างความสวยงามเมื่อนำไปใส่กระถางปลูกพืช | |
5. หลักสูตรฝึกอบรมการเพิ่มมูลค่ามูลสัตว์ในท้องถิ่น (การทำปุ๋ยอัดเม็ด) | กลุ่มผู้ประกอบการ/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : กลุ่มผู้ประกอบการ/วิสาหกิจชุมชนสามารถผลิตปุ๋ยอัดเม็ดจากมูลสัตว์ในท้องถิ่น โดยนำไปใช้ในการปลูกพืชในครัวเรือนและชุมชน ซึ่งเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ย รวมถึงสามารถนำผลผลิตไปจำหน่ายให้กับบุคคลนอกชุมชน เป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกทางหนึ่ง | |
6. หลักสูตรฝึกอบรมพัฒนาบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์สำหรับกลุ่มเกษตรกรแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร | กลุ่มเกษตรกรแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : องค์ความรู้ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่การแปรรูปเป็นสินค้าที่สามารถจัดจำหน่ายได้ง่าย มีการให้คำแนะนำด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และตราสัญลักษณ์โดยผู้เชี่ยวชาญ ที่สามารถสร้างความน่าสนใจสามารถวางจำหน่ายได้หลายช่องทาง | |
7. หลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเตาเผาถ่านประสิทธิภาพสูง | กลุ่มเกษตรกรแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : กลุ่มเกษตรกรสามารถจัดการกับวัสดุเหลือใช้ในกระบวนการทางการเกษตร โดยนำมาเผาเป็นถ่าน ซึ่งนวัตกรรมเตาเผาถ่านประสิทธิภาพสูง สามารถลดมลพิษ (ควัน) จากการเผาถ่านแบบเดิม รวมถึงชุมชนสามารถนำถ่านที่เผาได้ไปผ่านเครื่องอัดแท่ง ได้ถ่านอัดแท่งที่มีคุณสมบัติติดไปง่าย ไร้ควัน ตอบโจทย์ผู้บริโภค/ร้านชาบู หมูกระทะในปัจจุบัน ทำให้เกิดรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายถ่านอีกทางหนึ่งด้วย | |
5. อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | 1.หลักสูตร “ยื่นเอกสารอย่างไร ให้ไม่โดนภาษีย้อนหลัง” | เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการด้านการบัญชี ภายใต้แผนงานบ่มเพาะธุรกิจวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม |
2.หลักสูตรการออกแบบเครื่องหมายการค้าเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าและผลิตภัณฑ์ | เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการด้านการออกแบบเครื่องหมายการค้าเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าและผลิตภัณฑ์ภายใต้แผนงานการพัฒนาบริการอุทยานวิทยาศาสตร์ (Service Platform) | |
3.หลักสูตรการพัฒนาผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ 4. หลักสูตรสร้างแนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่พร้อมขาย | เพื่อพัฒนานักศึกษาและผู้ประกอบการ เป้าหมายนักศึกษา -นักศึกษาได้แนวคิดในเป็นผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ จำนวน 2 โครงการ ได้แก่ 1.เส้นเห็ดสดพร้อมทาน นักศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร 2.Handeld ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรคจากแสงสีฟ้า นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เป้าหมายผู้ประกอบการ -ผู้ประกอบการเกิดแนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่พร้อมขาย จำนวน 2 โครงการ ได้แก่ 1.วิสาหกิจชุมชนซาวไฮ่ซาวนา ผลิตภัณฑ์คอมบูชะจากโกโก้ 2.บริษัทโพรวิเฮิร์บ์ ผลิตภัณฑ์สเปย์สมุนไพร ภายใต้แผนงานการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ในภูมิภาค (New Regional Startups)ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 | |
6. ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจชุมชน | 1.หลักสูตร” Up Skill Business Model Canvas เขียนแผนธุรกิจอย่างไรให้สำเร็จในยุคดิจิทัล “ | ผู้ประกอบการสามารถสร้างแผนธุรกิจด้วยเครื่องมือ LEAN CANVAS และ BUSINESS MODEL CANVAS เพื่อให้นักศึกษาเห็นภาพรวมของแผนธุรกิจที่จะทำจริงๆ ช่วยลดความเสี่ยงจากการทำสิ่งที่ไม่มีคนต้องการ โดยจัดลำดับความสำคัญจากแผนที่ร่างไว้ |
2.หลักสูตรสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการ ทั้ง 3 ระดับ 1.ระดับ Pre-Incubation 2.ระดับ Start-up Companies 3.ระดับ Spin-off Companies | บ่มเพาะผู้ประกอบการให้เกิดการประกอบธุรกิจ (Pre-Incubation) เพื่อสร้างศักยภาพในการประกอบธุรกิจและเริ่มจัดตั้งบริษัท (Start-up Company) จนกระทั่งสามารถดำเนินธุรกิจได้ด้วยตนเอง (Spin-off Company) กลุ่มเป้าหมาย – นักศึกษา/บุคลากรของมหาวิทยาลัย – ศิษย์เก่า (ผู้ที่สำเร็จการศึกษาไม่เกิน 5 ปี)- กลุ่มผู้ประกอบการทั่วไป | |
7. คลินิกเทคโนโลยี | 1. หลักสูตรการพัฒนากระบวนการผลิตและออกแบบบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ปลาส้ม | ผู้ประกอบการชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการได้พัฒนาบรรจุภัณฑ์ปลาส้มที่ถูกสุขลักษณะสามารถเก็บรักษาได้ยาวนานขึ้นมีความทันสมัย และมีกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพการทำงานเพิ่มขึ้น โดยสามารถลดเวลาการทำงานได้ มีรายได้จากการจำหน่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 |
2. หลักสูตรการพัฒนาเครื่องทอดกล้วยและกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์กล้วยฉาบ | ผู้ประกอบการชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการได้ความรู้ในการใช้เครื่องทอดกล้วยต้นแบบ จำนวน 1 เครื่อง และได้กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์กล้วยทอดที่ถูกสุขลักษณะสามารถลดการแตกหักของกล้วยได้ มีกำลังการผลิตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 | |
3. หลักสูตรการพัฒนากระบวนการผลิตและปรับปรุงสถานที่การผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐาน GMP สำหรับผลิตภัณฑ์ซอสผัดไทยอเนกประสงค์ | ผู้ประกอบการชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการสามารถดำเนินการตามกระบวนการผลิตมีคุณภาพตามมาตรฐาน และได้บรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า และฉลากผลิตภัณฑ์ใหม่ 1 รูปแบบ ที่สามารถยืดอายุการเก็บรักษาได้ไม่น้อยกว่า 3 เดือน และได้ผังกระบวนการผลิตและสถานที่ผลิตตามมาตรฐาน GMP | |
4. หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มผสมกล้วยน้ำว้าดิบและสมุนไพรชนิดผง | ผู้ประกอบการชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการ ได้ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมใหม่จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพมาตรฐานตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด รวมถึงมีองค์ความรู้ในการด้านการผลิตอาหารที่มีมาตรฐาน เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การขอรับรองมาตรฐาน GMP ต่อไป | |
5. หลักสูตรการพัฒนาระบบมาตรฐานการผลิตและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์แป้งกล้วย | ผู้ประกอบการ/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการได้รูปแบบแผนผังสถานที่ผลิตเป็นไปตามมาตรฐาน GMP และได้บรรจุภัณฑ์ที่สามารเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ได้ 1 รูปแบบที่มีฉลากผลิตภัณฑ์เป็นไปตามมาตรฐาน อย. | |
6. หลักสูตรการพัฒนากระบวนการผลิตและการปรับปรุงสถานที่การผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐาน GMP สำหรับผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบธัญพืชดิบ | ผู้ประกอบการชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการได้กระบวนการผลิตข้าวเกรียบธัญพืชดิบมีประสิทธิภาพการทำงานเพิ่มขึ้น และมีผังกระบวนการผลิต เพื่อให้ผู้ประกอบการนำไปเตรียมความพร้อมเข้าสู่การพัฒนาระบบมาตรฐาน | |
7. หลักสูตรการพัฒนากระบวนการผลิตและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์เผือกทอดกรอบ | ผู้ประกอบการชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการได้บรรจุภัณฑ์ใหม่ และได้กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เผือกทอดกรอบ ที่สามารถลดการแตกหักของเผือกเส้นได้ มีกำลังการผลิตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 42.86 | |
8. หลักสูตรการพัฒนากระบวนการผลิตข้าวเกรียบมะม่วงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต | ผู้ปรผู้ประกอบการชุมชน/วิสาหกิจชุมชน ะกอบการ/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการสามารถพัฒนากระบวนการผลิตข้าวเกรียบโดยเพิ่มการสลัดน้ำมันด้วยที่ความเร็วรอบต่ำ นาน 3-5 นาที ก่อนนำมาบรรจุและปรับสภาวะโดยการเติมแก๊สไนโตรเจนเพื่อลดปฏิกิริยาออกซิ เดชันและช่วยเพิ่มอายุการเก็บรักษาให้กับผลิตภัณฑ์นาน 12 สัปดาห์พัฒนาชุดอุปกรณ์เครื่องผสมเพื่อแก้ปัญหาน้ำมันเข้าจากเพลาไหลเข้าเครื่องโดยใส่โอริงตัวใหม่ที่มีคุณสมบัติกันการรั่วซึมของน้ำมันและทนความร้อนหนา 7 mm และพัฒนาชุดอุปกรณ์ตัดก้อนแป้งทำข้าวเกรียบเป็นเครื่องที่ใช้แรงตัดและแรงเฉือนใบมีดหมุนด้วยความเร็วตัดแผ่นแป้งข้าวเกรียบมะม่วง มีขนาดความหนาเท่ากันที่ 1 mm | |
9. หลักสูตรการพัฒนาเนื้อดิน เคลือบและบรรจุภัณฑ์สังคโลกเชิงอัตลักษณ์ของท้องถิ่น | ผู้ประกอบการชุมชน/วิสาหกิจชุมชน ชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : – ลดต้นทุนการผลิตเคลือบสังคโลก ได้ 87 % – สูตรเนื้อดินสังคโลกที่พัฒนาขึ้นทดแทนสูตรดินเดิมได้ 100 % | |
10. หลักสูตรการพัฒนากระบวนการผลิตยาดม | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : พัฒนากระบวนการผลิตยาดม | |
11. หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์โลชั่นบำรุงผิวกายและครีมเจลพอกหน้าผสมสารสกัดหม่อน | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการได้ผลิตภัณฑ์โลชั่นบำรุงผิวกายและครีมเจลพอกหน้าผสมสารสกัดหม่อน 2 ผลิตภัณฑ์ ที่เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค มีข้อมูลความคงตัว ผ่านการทดสอบจุลินทรีย์และโลหะหนัก ฉลากบรรจุภัณฑ์ถูกต้องตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอางและได้รับการจดแจ้ง อย. | |
12.หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำมันหอมระเหยสมุนไพรนวดตัว | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันหอมระเหยสมุนไพรนวดตัว 4 ผลิตภัณฑ์ ที่เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค มีข้อมูลความคงตัว ผ่านการทดสอบจุลินทรีย์และโลหะหนัก ฉลากบรรจุภัณฑ์ถูกต้องตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอางและได้รับการจดแจ้ง อย. ใบรับจดแจ้งเลขที่ 63-1-6600019083 | |
13.หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์แชมพูปิดผมขาวจากสมุนไพร 5 ชนิด | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการได้ผลิตภัณฑ์แชมพูสมุนไพร 5 ชนิด และครีมนวดปิดผมขาว ที่เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค มีข้อมูลความคงตัว ผ่านการทดสอบจุลินทรีย์และโลหะหนัก ฉลากบรรจุภัณฑ์ถูกต้องตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอางและได้รับการจดแจ้ง อย. 1. แชมพูใบรับจดแจ้งเลขที่ 60-1-6600013765 2. ครีมนวดปิดผมขาวใบรับจดแจ้งเลขที่ 60-1-6600013805 | |
14. หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์ครีมรองพื้นผสมสารสกัดโกฐจุฬาลัมพา | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการได้ผลิตภัณฑ์ครีมรองพื้นผสมสารสกัดโกฐจุฬาลัมพา 2 ผลิตภัณฑ์ ที่เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค มีข้อมูลความคงตัว ผ่านการทดสอบจุลินทรีย์และโลหะหนัก ฉลากบรรจุภัณฑ์ถูกต้องตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอาง และได้รับการจดแจ้ง อย. | |
15.หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เจลนวดผิวกระชับสัดส่วนผสมสารสกัดพริกขิงกาแฟ | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการได้ผลิตภัณฑ์เจลนวดผิวกระชับสัดส่วนผสมสารสกัดพริกขิงกาแฟ ที่เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค มีข้อมูลความคงตัว ผ่านการทดสอบจุลินทรีย์และโลหะหนัก มีฉลากบรรจุภัณฑ์ที่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอาง และได้รับการจดแจ้ง อย. | |
16.หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์โลชั่นผิวขาวและครีมบำรุงมือผสมสารสกัดใบดาวอินคา | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการสามารถผลผลิต : 1. ฉลากบรรจุภัณฑ์ที่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอาง สวยงามสามารถดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค 2. สารสกัดใบดาวอินคาที่มีคุณภาพ สามารถนำไปใช้เป็นวัตถุดิบส่วนผสมในผลิตภัณฑ์โลชั่นและครีมบำรุงมือ 3.โลชั่นผิวขาวและครีมบำรุงมือที่ผู้บริโภคยอมรับและได้รับเลขจดแจ้ง อย. 2 ผลิตภัณฑ์ ผลลัพธ์ : ผู้ประกอบการมีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ใหม่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 | |
17. หลักสูตรการพัฒนากระบวนการผลิตผลไม้แปรรูปย่ารอดให้เป็นไปตามมาตรฐาน GMP | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการสามารถผลิตผลไม้แปรรูปย่ารอดให้เป็นไปตามมาตรฐาน GMP | |
18. หลักสูตรการพัฒนากระบวนการผลิตและระบบมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชาอัญชัน | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผู้ประกอบการสามารถพัฒนาการพัฒนากระบวนการผลิตและระบบมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชาอัญชัน | |
19. หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์คางกุ้งทอดกรอบสามรสและบรรจุภัณฑ์ | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : พัฒนาผลิตภัณฑ์คางกุ้งทอดกรอบสามรสและบรรจุภัณฑ์ | |
20. หลักสูตรการพัฒนากระบวนการผลิตสังขยาใบเตยเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาและบรรจุภัณฑ์ | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : กระบวนการผลิตสังขยาใบเตยเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาและบรรจุภัณ | |
21. หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์คุกกี้ธัญพืชและบรรจุภัณฑ์ | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผลิตภัณฑ์คุกกี้ไร้มันเนย | |
22. หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์แชมพูมะกรูดและบรรจุภัณฑ์ | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผลตภัณฑ์แชมพูมะกรูดในรูปแบบบรรจุภัณฑ์จำหน่ายปลีก ภายใต้กระบวนการผลิตที่สามารถยืดอายุการเก็บรักษาได้เพิ่มขึ้นและมีการจัดเตรียมสถานที่และเอกสารเบื้องต้นเพื่อการยื่นขอเลขจดแจ้ง | |
23. หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาหม่องจากพืชสมุนไพรและกระบวนการผลิต เพื่อเตรียมความพร้อมในการยื่นขอระบบมาตรฐาน | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ผลิตภัณฑ์ยาหม่องจากพืชสมุนไพรและกระบวนการผลิต เพื่อเตรียมความพร้อมในการยื่นขอระบบมาตรฐาน | |
24.หลักสูตรการพัฒนากระบวนการผลิตและมาตรฐานผลิตภัณฑ์พุทราเชื่อม | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : กระบวนการผลิตและมาตรฐานผลิตภัณฑ์พุทราเชื่อม | |
25. หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดที่เหมาะสมต่อการผลิตไม้ดอก | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ได้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดที่มีปริมาณธาตุอาหารพืชเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานจากกรมวิชาการเกษตร จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์ และกระบวนการหมักปุ๋ยมีระยะเวลาการหมัก 45 วัน และสามารถลดกลิ่นและแมลงรบกวนจากกระบวนการผลิตปุ๋ยได้ | |
26. หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดที่เหมาะสมต่อการผลิตไม้ผลและยางพารา | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ได้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดที่มีปริมาณธาตุอาหารพืชเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานจากกรมวิชาการเกษตร จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ และกระบวนการหมักปุ๋ยมีระยะเวลาการหมัก 45 วัน | |
27.หลักสูตรการพัฒนากระบวนการผลิตภัณฑ์ใหม่จากข้าวไรซ์เบอรี่ให้เป็นไปตามมาตรฐาน GHP | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีส่วนผสมของข้าวไรซ์เบอร์รี่ ทั้งหมด 4 ผลิตภัณฑ์ และพัฒนากระบวนการผลิตซีเรียลข้าวไรซ์เบอร์รี่โดยการลดความชื้นผลิตภัณฑ์และปรับรูปแบบสภาวะการบรรจุเป็นสุญญากาศทำให้มีอายุการเก็บรักษาที่นานมากขึ้นจาก 4 สัปดาห์ เป็น 12 สัปดาห์ | |
28.หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์มะม่วงอบแห้งและพัฒนากระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์มะม่วงอบแห้งให้ถูกสุขลักษณะ | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : ได้ผลิตภัณฑ์มะม่วงแช่อิ่มอบแห้ง และมีกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพการทำงานเพิ่มขึ้น โดยสามารถลดเวลาการทำงานได้ มีรายได้จากการจำหน่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 24 | |
29. หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์แจ่วบองสมุนไพรปลากรอบและบรรจุภัณฑ์ | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : การพัฒนาผลิตภัณฑ์แจ่วบองสมุนไพรปลากรอบและบรรจุภัณฑ์ | |
30.หลักสูตรการพัฒนาระบบมาตรฐานและผลิตภัณฑ์หมี่กรอบรสส้มซ่าส์ | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : การพัฒนาระบบมาตรฐานและผลิตภัณฑ์หมี่กรอบรสส้มซ่าส์ | |
31.หลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์พริกแกงอบแห้งและบรรจุภัณฑ์ | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : การพัฒนาผลิตภัณฑ์พริกแกงอบแห้งและบรรจุภัณฑ์ | |
32. หลักสูตรการพัฒนาระบบมาตรฐานและกระบวนการผลิตแมคคาเดเมียให้ถูกสุขลักษณะ | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : การพัฒนาระบบมาตรฐานและกระบวนการผลิตแมคคาเดเมียให้ถูกสุขลักษณะ | |
33. หลักสูตรการพัฒนากระบวนการแช่อิ่มผักและผลไม้และการลดความชื้นผักและผลไม้แช่อิ่มเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : พัฒนากระบวนการผลิตะลิงปลิงแช่อิ่มอบแห้ง สามารถลดระยะเวลาในการผลิตจาก 7 วัน เหลือ 4 วัน และยืดอายุการเก็บรักษาได้นาน 16 สัปดาห์ จาก 8 สัปดาห์ พัฒนาและออกแบบชุดอ่างแช่อิ่มด้วยคลื่นความถี่สูง เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์และลดระยะเวลาในการผลิตพัฒนาและออกแบบชุดอุปกรณ์ลดความชื้นด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อให้มีสุขลักษณะที่ดีมากขึ้น และเพิ่มศักยภาพการผลิตด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ | |
34. หลักสูตรการยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมัลเบอร์รี่ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : 1. ผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากมัลเบอร์รี 2 ผลิตภัณฑ์ (น้ำมัลเบอร์รีเข้มข้นและน้ำมัลเบอร์รีผสมน้ำผึ้งเข้มข้น) 2. กระบวนการผลิตตามมาตรฐาน GMP 2 กระบวนการ 3. ผลิตภัณฑ์ที่มีมาตรฐาน 2 ผลิตภัณฑ์ 4. แผนธุรกิจ | |
35.หลักสูตรการยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมะม่วงด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | ผู้ประกอบการในชุมชน/วิสาหกิจชุมชน สิ่งที่ผู้ประกอบการได้รับ : 1. ผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากมะม่วง 2 ผลิตภัณฑ์ (มะม่วงกวนโบราณลดน้ำตาล และเยลลีมะม่วงลดน้ำตาล) 2. กระบวนการผลิตตามมาตรฐาน GMP 2 กระบวนการ 3. ผลิตภัณฑ์ที่มีมาตรฐาน 2 ผลิตภัณฑ์ 4. แผนธุรกิจ |